• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
Main Menu

poker online

ปูนปั้น

Menu

Show posts

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.

Show posts Menu

Messages - Bamm

#1


งบทดลอง คืออะไร สำคัญยังไงกับการทำบัญชี?
หลายคนอาจเคยตั้งคำถามว่า "ทำบัญชีไปทำไม?" แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าตัวเลขในระบบถูกต้องจริงหรือไม่? คำตอบก็คือ "งบทดลอง" หรือ Trial Balance ที่เป็นเครื่องมือช่วยเช็กความถูกต้องของรายการบัญชีก่อนสรุปเป็นงบการเงิน 
อ่านรายละเอียดฉบับเต็มได้ที่ งบทดลอง คืออะไร พร้อมตัวอย่างและประโยชน์

งบทดลอง คืออะไร?



งบทดลอง (Trial Balance) คือรายงานที่แสดงยอดคงเหลือของบัญชีทั้งหมดในระบบบัญชีของกิจการ ณ สิ้นงวดบัญชี ทั้งฝั่ง เดบิต (Dr.) และ เครดิต (Cr.) เพื่อใช้ตรวจสอบว่ารายการที่บันทึกไว้นั้นมีความถูกต้อง และสมดุลหรือไม่

ส่วนประกอบของงบทดลอง
- หมายเลขบัญชี – รหัสของบัญชี 
- ชื่อบัญชี – เช่น เงินสด, ลูกหนี้, รายได้ 
- ยอดเดบิต – ยอดรวมฝั่งเดบิตของบัญชี 
- ยอดเครดิต – ยอดรวมฝั่งเครดิตของบัญชี 

ตัวอย่างงบทดลอง (ธุรกิจขายของออนไลน์)


งบทดลอง คืออะไร?



สมมุติว่าคุณทำร้านค้าออนไลน์ งบทดลองของคุณอาจมีรายการเช่น: 
- เงินสดจากการขาย 
- ลูกหนี้จากเก็บเงินปลายทาง 
- รายได้จากการขายสินค้า 
- ค่าใช้จ่ายโฆษณา Shopee/Lazada 
- สินค้าคงเหลือ 

สิ่งสำคัญ: ยอดเดบิตและเครดิตต้อง "เท่ากัน" เสมอ หากไม่เท่ากัน แสดงว่ามีความผิดพลาดในขั้นตอนบันทึกบัญชี

อยากได้ผู้ช่วยจัดทำงบทดลอง-งบการเงิน?
หากคุณต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีที่สามารถช่วยตรวจสอบและจัดทำงบทดลองอย่างถูกต้อง พร้อมให้คำปรึกษาทางบัญชีและภาษีแบบครบวงจร แนะนำให้ใช้บริการจาก บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ที่มีประสบการณ์มากกว่า 20 ปีในวงการ

📌 บริการของเรา ได้แก่:
- รับทำบัญชีรายเดือน-รายปี 
- ตรวจสอบงบการเงิน 
- ยื่นภาษี/ประกันสังคม 
- รับจดทะเบียนบริษัทใหม่ 
#2


ยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไม่ใช่เรื่องยาก หากมีผู้ช่วยที่ใช่
เมื่อเข้าสู่ช่วงยื่นภาษี หลายคนโดยเฉพาะมนุษย์เงินเดือน ฟรีแลนซ์ และเจ้าของกิจการ อาจรู้สึกสับสน ไม่แน่ใจว่าควรเริ่มต้นอย่างไร ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง หรือแม้แต่ไม่รู้ว่าตัวเองมีสิทธิหักลดหย่อนภาษีรายการใดได้บ้าง ซึ่งความเข้าใจผิดหรือความไม่ครบถ้วนของเอกสารเหล่านี้ อาจนำไปสู่การเสียภาษีเกินจริง หรือมีปัญหากับกรมสรรพากรในภายหลัง 
หากคุณกำลังมองหาบริการ รับยื่นภาษีบุคคลธรรมดา ที่ไม่เพียงแค่ช่วยกรอกและส่งแบบให้ แต่ยังให้คำปรึกษาและวางแผนภาษีได้อย่างมืออาชีพ ขอแนะนำให้คุณลองทำความรู้จักกับ Narinthong – ผู้ให้บริการยื่นภาษีและที่ปรึกษาด้านบัญชี ที่เชี่ยวชาญในการดูแลทั้งพนักงานประจำ ฟรีแลนซ์ และเจ้าของกิจการ ด้วยประสบการณ์มากกว่า 20 ปี

บริการที่มากกว่าการ "ยื่นภาษี" 




หนึ่งในข้อดีของการใช้บริการจากผู้เชี่ยวชาญ คือคุณจะได้รับคำแนะนำตั้งแต่ขั้นตอนต้นทาง เช่น

- การวิเคราะห์รูปแบบรายได้ ว่าควรเลือกหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา หรือใช้เอกสารประกอบดี 
- การจัดเตรียมเอกสาร เช่น หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย (50 ทวิ) 
- การคำนวณภาษี พร้อมประเมินสิทธิประโยชน์ในการหักลดหย่อนภาษี 
- การยื่นแบบออนไลน์ผ่านระบบของกรมสรรพากรอย่างถูกต้อง และปลอดภัย 

โดยเฉพาะผู้ที่มี รายได้หลายทาง เช่น งานประจำควบคู่กับการขายของออนไลน์หรือรับจ้างอิสระ การมีที่ปรึกษาด้านภาษีจะช่วยให้คุณจัดการทุกอย่างได้ง่ายขึ้นมาก และหลีกเลี่ยงปัญหาที่อาจเกิดจากการกรอกข้อมูลผิด หรือเอกสารไม่ครบถ้วน

ยื่นภาษีให้ถูกต้อง พร้อมวางแผนประหยัดภาษีในอนาคต 
นอกจากบริการยื่นแบบทั่วไปแล้ว นรินทร์ทองยังมี แพ็กเกจวางแผนภาษีแบบมืออาชีพ ที่ออกแบบมาสำหรับผู้ที่มีรายได้สูง นักลงทุน หรือผู้ประกอบธุรกิจที่ต้องการบริหารภาษีอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะมีการวิเคราะห์ภาพรวมของรายได้ ค่าใช้จ่าย และการใช้สิทธิลดหย่อนอย่างเหมาะสม เพื่อให้คุณสามารถ "จ่ายภาษีอย่างคุ้มค่า" และเป็นไปตามกฎหมาย 
บริการแบบนี้เหมาะมากสำหรับผู้ที่ไม่ต้องการปวดหัวกับตัวเลข หรือไม่มีเวลาติดตามข่าวสารเกี่ยวกับภาษีใหม่ ๆ เพราะทีมงานของนรินทร์ทองมีการอัปเดตข้อมูลกฎหมายภาษีอยู่เสมอ พร้อมให้คำปรึกษาเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้ที่ต้องการวางแผนธุรกิจอย่างจริงจัง

สรุป: ยื่นภาษีบุคคลธรรมดาง่ายขึ้น เมื่อมีผู้เชี่ยวชาญดูแล 



การยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไม่จำเป็นต้องเป็นเรื่องยากหรือยุ่งยากอีกต่อไป หากคุณมีผู้ช่วยที่เข้าใจรายได้ของคุณ พร้อมให้คำแนะนำอย่างถูกต้อง และช่วยให้คุณใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้เต็มที่ หากคุณกำลังมองหาผู้เชี่ยวชาญในด้านนี้ คลิกที่นี่เพื่อดูรายละเอียดบริการรับยื่นภาษีบุคคลธรรมดาของนรินทร์ทอง พร้อมปรึกษาฟรีกับทีมผู้เชี่ยวชาญ


#3


ออฟฟิศให้เช่าตกแต่งแล้ว เหมาะกับใคร? พร้อมใช้งานทันที
ออฟฟิศให้เช่าตกแต่งแล้ว กำลังได้รับความนิยมในกลุ่มผู้ประกอบการที่ต้องการพื้นที่ทำงานพร้อมใช้งาน ไม่ต้องเสียเวลาในการจัดตกแต่งเอง เหมาะกับทั้งสตาร์ทอัพ องค์กรขนาดใหญ่ และฟรีแลนซ์ที่มองหาพื้นที่มืออาชีพ
หากคุณกำลังมองหา ออฟฟิศให้เช่า ย่านอารีย์ ที่ผสมผสานทั้งทำเลดี การเดินทางสะดวก และสิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน แนะนำ TIPCO TOWER อาคารสำนักงานเกรด A ที่ตอบโจทย์ธุรกิจยุคใหม่ได้อย่างครบถ้วน

ถ้าอยากทราบว่า ออฟฟิศให้เช่าตกแต่งแล้ว เหมาะกับใคร? พร้อมใช้งานทันที อ่านต่อคลิก



ออฟฟิศให้เช่าตกแต่งแล้ว ดียังไง?
1. ทำเลศักยภาพ เดินทางสะดวก
ออฟฟิศให้เช่าตกแต่งแล้วมักตั้งอยู่ในทำเลใจกลางเมืองหรือย่านธุรกิจใหม่อย่างอารีย์ เชื่อมต่อ BTS–MRT ใกล้แหล่งกิน เที่ยว ใช้ชีวิต สะดวกทั้งพนักงานและลูกค้า

2. พื้นที่ยืดหยุ่น รองรับการเติบโต
ขยายพื้นที่ได้ง่าย เชื่อมชั้น เชื่อมทีม เหมาะกับธุรกิจที่กำลังเติบโต ลดภาระการย้ายออฟฟิศในอนาคต

3. พร้อมใช้งานทันที
ไม่ต้องเสียเวลาก่อสร้างหรือตกแต่ง เข้าใช้งานได้รวดเร็ว เหมาะกับสตาร์ทอัพหรือโปรเจกต์ที่ต้องการความคล่องตัวสูง





4. ควบคุมงบได้ชัดเจน
เช่าออฟฟิศตกแต่งแล้ว ช่วยลดค่าใช้จ่ายแฝง เช่น เฟอร์นิเจอร์ ระบบไฟฟ้า หรือของตกแต่งจิปาถะ ไม่ต้องเสียเวลาและงบเกินแผน

5. สิ่งอำนวยความสะดวกครบ
อาคารมักจัดเตรียมระบบพื้นฐานไว้พร้อม ทั้งเฟอร์นิเจอร์ ระบบไฟ สายสื่อสาร ฯลฯ ช่วยประหยัดทั้งเงินและเวลา ไม่ต้องจัดการเอง

6. บรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน
การออกแบบออฟฟิศทันสมัย ใช้แสงธรรมชาติ มีพื้นที่พักผ่อน ร้านค้า และฟิตเนส ช่วยสร้างแรงบันดาลใจ เพิ่มประสิทธิภาพ และคุณภาพชีวิตทีมงาน




ทำไมออฟฟิศให้เช่าตกแต่งแล้วถึงคุ้มค่ากับการลงทุน?

ออฟฟิศให้เช่าตกแต่งแล้ว เป็นทางเลือกที่คุ้มค่าสำหรับทุกธุรกิจ ทั้งเริ่มต้นและขยาย ด้วยความพร้อมใช้งาน ทำเลสะดวก และควบคุมงบประมาณได้ง่าย
แนะนำ TIPCO TOWER ออฟฟิศให้เช่า Grade A ย่านอารีย์ ใกล้ BTS–MRT พร้อม Shuttle Service ตกแต่งครบ เข้าใช้งานได้ทันที รองรับการขยายพื้นที่ในอนาคต พร้อมบรรยากาศพรีเมียม และดีไซน์โดยทีมออกแบบชั้นนำ

ทำไมถึงต้องเลือก ออฟฟิศให้เช่าตกแต่งแล้ว ที่นี่มีคำตอบ!! อ่านต่อคลิก


สนใจเช่าสำนักงานกับ TIPCO TOWER ติดต่อเรา

#4


ออฟฟิศให้เช่า อารีย์ ดีอย่างไร? ทำเลทองสำหรับธุรกิจของคุณ
อารีย์ ทำเลศักยภาพที่กำลังมาแรง ย่านศูนย์กลางธุรกิจใหม่ที่ตอบโจทย์ทั้งทำเล ไลฟ์สไตล์ และภาพลักษณ์องค์กร ใครกำลังมองหาออฟฟิศให้เช่าในย่านนี้ ห้ามพลาด! เพราะเรารวมเหตุผลว่าทำไมอารีย์ถึงเหมาะกับธุรกิจยุคใหม่ พร้อมแนะนำตึก TIPCO TOWER ออฟฟิศให้เช่าใกล้อารีย์ ที่ครบทั้งฟังก์ชันและความสะดวก

อ่านบทความเต็มคลิกที่



เหตุผลที่ออฟฟิศให้เช่าในอารีย์ได้รับความนิยม
ย่านอารีย์ หนึ่งในทำเลที่ลงตัวที่สุดสำหรับการทำงานและไลฟ์สไตล์ ศูนย์รวมออฟฟิศ คาเฟ่ ร้านอาหาร และแหล่งไลฟ์สไตล์ที่ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่ การเลือกออฟฟิศให้เช่าย่านนี้ ไม่ใช่แค่ได้ทำเลดี แต่ยังช่วยสร้างโอกาสใหม่ๆ ให้ธุรกิจเติบโต




ข้อดีของออฟฟิศให้เช่าในย่านอารีย์

1. เดินทางสะดวก ใกล้ BTS อารีย์
เชื่อมต่อถนนสายหลัก ใกล้สาทร สีลม สุขุมวิท เดินทางง่ายทั้งรถส่วนตัวและรถไฟฟ้า

2. สิ่งอำนวยความสะดวกครบ
ร้านอาหาร คาเฟ่ ศูนย์การค้า โรงพยาบาล และคอนโด ใกล้ที่ทำงาน เพิ่มคุณภาพชีวิตทั้งพนักงานและลูกค้า

3. ค่าเช่าสมเหตุสมผล
เริ่มต้นประมาณ 700-1,000 บาท/ตร.ม. ถูกกว่าย่าน CBD แต่ยังได้ทำเลดีและสิ่งอำนวยความสะดวกครบ

4. บรรยากาศเหมาะกับการทำงาน
สงบ เป็นส่วนตัว รายล้อมด้วยพื้นที่สีเขียว ช่วยลดความเครียด กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์

5. ภาพลักษณ์ทันสมัย ดึงดูดคนรุ่นใหม่
ไลฟ์สไตล์ครบ คาเฟ่เก๋ ร้านอาหารชิค รองรับไลฟ์สไตล์คนทำงานยุคใหม่ เพิ่มความน่าอยู่และน่าทำงาน




ออฟฟิศให้เช่า ย่านอารีย์ ที่ตอบโจทย์ทุกธุรกิจ ครบทั้งทำเลดี พื้นที่ยืดหยุ่น พร้อมเข้าอยู่
แนะนำ TIPCO TOWER ออฟฟิศให้เช่า Grade A ใกล้ BTS อารีย์ ใกล้ทางด่วน พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกจัดเต็ม
1. พื้นที่เริ่มต้น 100 ตร.ม.
2. มี Shuttle Service รับ-ส่ง BTS
3. ระบบความปลอดภัย 24 ชม.
4. ห้องประชุมใหญ่ รองรับกว่า 200 คน
5. ฟิตเนส สระว่ายน้ำ คลินิก ร้านค้า คาเฟ่ครบ

ตอบโจทย์ทุกไลฟ์สไตล์คนทำงานยุคใหม่ครบจบในที่เดียว

ออฟฟิศให้เช่า อารีย์ ดีอย่างไร? ทำเลทองสำหรับธุรกิจของคุณ อ่านต่อคลิก


สนใจเช่าสำนักงานกับ TIPCO TOWER ติดต่อเรา

#5


บริษัท นรินทร์ทอง บทความนี้เราจะชวนทุกคน มาไขข้อสงสัย พร้อมแนะนำรูปแบบการจดทะเบียน ทั้งแบบ บริษัทจำกัด กับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด (หจก) ว่าต่างกันยังไง? เพื่อให้คุณสามารถเลือกจดทะเบียนได้ถูกต้อง

เรียนรู้วิธีการจดทะเบียนบริษัทจำกัด กับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด เพิ่มเติมคลิกอ่านที่นี่


หจก กับ บริษัท ต่างกันยังไง?


1 . อย่างแรกเลยนั่นก็คือ จำนวนผู้ร่วมลงทุน (จำนวนผู้ถือหุ้นหรือผู้ก่อตั้ง)
  • บริษัทจำกัด : ผู้ร่วมลงทุนหรือว่าผู้ถือหุ้นจะต้องมีอย่างน้อย 3 คนขึ้นไป
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัด : ต้องมีผู้ร่วมลงทุนหรือผู้ถือหุ้น 2 คน ขึ้นไป


2. การลงทุนระหว่าง หจก กับ บริษัท
  • บริษัทจำกัด : การลงทุนแบบการจดทะเบียนบริษัท สามารถจัดตั้งบริษัทได้โดยหุ้นขั้นต่ำที่ 15 บาทขึ้นไป และหุ้นสามารถโอนให้แก่กัน หรือ โอนให้แก่บุคคลภายนอกได้
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัด : ในส่วนของห้างหุ้นส่วนจะแบ่งเป็น 2 ประเภทนั่นก็คือ
– หุ้นส่วนที่ไม่จำกัดความรับผิดชอบ หรือ  หุ้นส่วนผู้จัดการ : หุ้นส่วนผู้จัดการจะมีอำนาจในการบริหารงานทั้งหมด และสามารถลงทุนได้ด้วยแรงงาน ทรัพย์สิน และเงินสด เป็นต้น
– หุ้นส่วนประเภทจำกัดความรับผิดชอบ หรือ หุ้นส่วนทั่วไป : หุ้นส่วนทั่วไปจะไม่มีอำนาจในการบริหารหรือตัดสินใจ ส่วนการลงทุนของหุ้นส่วนทั่วไป สามารถลงทุนได้แค่ทรัพย์สิน และเงินสดเท่านั้น
3. ความรับผิดชอบ
  • บริษัทจำกัด : ผู้ถือหุ้นแต่ละคนรับผิดจำกัดไม่เกินจำนวนเงินที่ลงหุ้น
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัด : ในส่วนของหุ้นส่วนผู้จัดการ ต้องร่วมกันรับผิดไม่จำกัดจำนวน (รวมถึงทรัพย์สินส่วนตัวด้วย) แต่หุ้นส่วนทั่วไปรับผิดแค่เงินที่ตัวเองได้ลงทุนไว้

4. ค่าธรรมเนียม
  • บริษัทจำกัด : ค่าธรรมเนียมจัดตั้งจะอยู่ที่ 5,000 บาท (ราคาอาจมีการเปลี่ยนแปลง)
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัด : ค่าธรรมเนียมจะอยู่ที่ 1,000 บาท (ราคาอาจมีการเปลี่ยนแปลง)



5. การปิดงบการเงินประจำปี
  • การปิดงบการเงินประจำปีของ บริษัท จำกัด : สามารถให้ผู้สอบบัญชี (CPA) เซ็นรับรองงบการเงินได้
  • การปิดงบการเงินประจำปีของ ห้างหุ้นส่วน จำกัด : สามารถให้ผู้สอบบัญชี (CPA) หรือสามารถให้ผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA) เซ็นรับรองงบการเงินได้

6.อัตราภาษี
การจดทะเบียน บริษัทจำกัด กับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ต้องเสียอัตราภาษีก้าวหน้า 15%-30% และต้องส่งรายงานบัญชีให้กรมสรรพากร

7. ความน่าเชื่อถือ
  • บริษัทจำกัด : สูง
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัด : ปานกลาง


อ่านวิธีการ การจดทะเบียนบริษัทจำกัด กับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด แบบละเอียด เพิ่มเติมคลิก



สรุปแล้วการจดทะเบียนแบบไหนเด่น และดีด้านไหนบ้าง ?



  • บริษัทจำกัด : มีความน่าเชื่อถือมากกว่า เพราะมีแบบแผน มีความมั่นคง เหมาะกับธุรกิจที่ต้องติดต่อกับคนจำนวนมากๆ และข้อดีอีกอย่างก็คือ สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้มากกว่า
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัด : มีความได้เปรียบกว่าในเรื่องของการดำเนินงาน เพราะไม่จำเป็นต้องมีการประชุมลงมติ ทำให้การตัดสินใจสามารถทำได้เร็ว และมีความยืดหยุ่นมากกว่า เหมาะสำหรับธุรกิจเล็กๆ นอกจากนี้ยังมีขั้นตอนการจดทะเบียนที่ง่ายกว่า และมีค่าธรรมเนียมถูกกว่าด้วย


เรียนรู้วิธีการจดทะเบียนบริษัทจำกัด กับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด เพิ่มเติมคลิกอ่านที่นี่




อยากจดทะเบียน บริษัท กับ ห้างหุ้นส่วน เลือกทำที่นรินทร์ทอง

บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด เราเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชี และภาษี รวมไปถึงการจดทะเบียนนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบ บริษัท หรือห้างหุ้นส่วน ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี ทำให้มั่นใจได้เลยว่าหากเลือกใช้บริการกับเรา จะทำให้ธุรกิจของคุณพัฒนาได้อย่างก้าวกระโดดแน่นอน อยากเติบโตในธุรกิจเลือก Narinthong !!

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#6


การจดทะเบียนบริษัทจะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป เพราะเราสามารถ จดทะเบียนบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ DBD Biz Regist ได้ด้วยตัวเอง สำหรับใครที่ต้องการศึกษาหาข้อมูลก่อนจดทะเบียน  บริษัท นรินทร์ทอง รวบรวมข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับการ จดบริษัทออนไลน์ ไว้ในบทความนี้

เรียนรู้วิธีการ จดบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ DBD Biz Regist เพิ่มเติมคลิก


DBD Biz Regist คืออะไร


คือ ระบบจดทะเบียนนิติบุคคลดิจิตอล โดยกรมพัฒนาการค้า หากคุณต้องการจดทะเบียนบริษัท ผ่านระบบ DBD Biz Regist แนะนำให้ใช้ ThaiD เพราะคุณสามารถใช้ข้อมูลจาก ThaiD ตั้งแต่ขั้นตอนแรก ไปจนถึงขั้นตอนสุดท้าย


อ่านเอกสารที่ต้องใช้ในการ จดบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ DBD Biz Regist เพิ่มเติมคลิก


ค่าใช้จ่ายในการจดบริษัท

การจดทะเบียนบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ DBD Biz Regist จะมีค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 6,400 บาท / จด หจก. อีก 1,500 บาท

สำหรับใครที่ต้องการจ้างจดทะเบียนบริษัท ผ่านทางออนไลน์ อ่านเพิ่มเติมได้ที่ ค่าใช้จ่ายการจดทะเบียนบริษัท

ขั้นตอนการ จดทะเบียนบริษัทออนไลน์ ผ่าน DBD Biz Regist


  • ทำการสมัครสมาชิก โดยมีให้เลือก 2 ส่วนคือ
1. สมัครสมาชิกเป็น "ผู้แทนจดทะเบียน"
2. สมัครสมาชิกเป็น "ผู้รับรองลายมือชื่อ"

  • โดยทั่วไปผู้ที่ต้องการจดทะเบียนจะเลือก "สมัครสมาชิกเป็นผู้แทนจดทะเบียน" หากไม่อยากกรอกข้อมูลเยอะ สามารถเข้าสู่ระบบด้วย Digital ID ได้ และเลือก ThaiD

  • จากนั้นจะมี QR Code ขึ้นมา

  • หลังอ่านเงื่อนไข > กดยินยอม > กดยอมรับ และสามารถดำเนินการต่อได้เลย

หลังจากเข้าสู่ระบบด้วย Digital ID ระบบจะกลับมาที่หน้าแรก ให้เลือก 'สมัครสมาชิกเป็นผู้แทนจดทะเบียน' เช่นเดิม

  • จากนั้นจะเห็นข้อมูลส่วนตัวขึ้นมาอัตโนมัติ > กดดำเนินการต่อ

  • กรอกเบอร์โทรศัพท์ และกรอกที่อยู่ในประเทศไทย

  • จากนั้นระบบจะให้ยืนยันการส่งข้อมูลอีกครั้ง > กดดำเนินการต่อ

  • ทางระบบจะส่ง PIN Code ให้ทาง E-Mail จากนั้นใส่ PIN Code ที่ได้รับและกดยืนยัน ทางเว็บไซต์จะขึ้นว่า 'ลงทะเบียนสำเร็จ'


ขั้นตอนที่ 1 ระบุข้อมูลบริษัท


  • เข้ามาที่หัวข้อ 'จัดตั้งบริษัท' หากต้องการจดบริษัททันที เลือกหัวข้อ 'จดหนังสือบริคณห์สนธิพร้อมจัดตั้งบริษัท'


  • รายการข้อมูลที่จำเป็น ต้องเตรียมก่อนจดจัดตั้งนิติบุคคลขึ้นมา ให้กดรับทราบด้านล่าง และกดดำเนินการต่อ
  • ระบุข้อมูลบริษัท ในขั้นตอนนี้ให้เริ่มจากการระบุข้อมูล 'ชื่อบริษัท' หากใครต้องการตั้งชื่อเฉพาะ ต้องจองชื่อในกรมธุรกิจารค้าก่อน
  • ตราประทับของบริษัท หากไม่มีให้กด 'ไม่มี' และถ้าบริษัทไหนมีให้กด 'มี' และแนบรูปแบบตราประทับ


  • ทุนบริษัท ะหมายถึง ทุนจดทะเบียนต่อหุ้น มูลค่าหุ้นขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 5 บาท
  • ทำการกรอกข้อมูลที่ตั้ง เมื่อกรอกเรียบร้อยแล้วกดดำเนินการต่อ จากนั้นระบบจะส่ง PIN Code ให้ทาง E-Mail เพื่อกดยืนยัน

ขั้นตอนที่ 2 เพิ่มข้อมูลบุคคลในบริษัท[/center]
  • ระบุข้อมูลส่วนตัวผู้เริ่มก่อการ (เริ่มจัดตั้งบริษัทต้องมีอย่างน้อย 2 คน) หากกรอกข้อมูลขั้นตอนแรกครบถ้วน ระบบจะขึ้นข้อมูลส่วนตัวให้อัตโนมัติ แต่ต้องระบุข้อมูลตรง 'อาชีพ' เพิ่มเติม สำหรับผู้เริ่มก่อการคนที่ 2 จะต้องกรอกข้อมูลส่วนตัวเพิ่มเติม


  • กรอกข้อมูลผู้ถือหุ้น หากมีมากกว่าผู้เริ่มก่อการ สามารถเพิ่มรายชื่อผู้ถือหุ้นได้ ในส่วนของขั้นตอนนี้ให้ทำการกรอก 'จำนวนหุ้น' (ต้องตรงกับข้อเท็จจริง) และ 'จำนวนเงินที่ชำระค่าหุ้น' (ชำระแล้วต้องไม่ต่ำกว่า 25%)


  • กรอกข้อมูลกรรมการ เป็นได้ทั้งผู้ถือหุ้นและไม่ได้เป็นผู้ถือหุ้น หากเป็นผู้ถือหุ้นให้เลือก 'ชื่อกรรมการจากรายชื่อผู้ถือหุ้น' หากไม่ได้เป็นผู้ถือหุ้น ให้เลือก 'ตั้งบุคคลอื่นเป็นกรรมการ'


ขั้นตอนที่ 3 สร้างเอกสาร[/center]
  • เลือกวัตถุประสงค์ของธุรกิจ เป็นวัตถุประสงค์เฉพาะ หากทำธุรกิจตรงกับหัวข้อไหนในระบบสามารถกดเลือกได้เลย แต่ถ้าธุรกิจของเราเป็นธุรกิจทั่วไป ให้เลือก 'ไม่ใช่ธุรกิจพิเศษ' จากนั้นจะมีวัตถุประสงค์ขึ้นมา ให้เลือกวัตถุประสงค์ที่ตรงกับประเภทธุรกิจ
  • เลือกรหัสธุรกิจ ค้นหารหัสที่มีหมวดหมู่ตรงกับธุรกิจของคุณ จากนั้นทำการกดบันทึก และดำเนินการต่อ
  • สร้างข้อบังคับของบริษัท ถ้ามี ให้เลือก 'มีข้อบังคับ' ทางระบบมีให้เลือกทั้งแบบสำเร็จรูป และกำหนดเอง แต่ถ้าไม่มีข้อบังคับ ให้เลือก 'ไม่มีข้อบังคับ' หมายถึงยึดตามกฎหมายเป็นหลัก
  • รายละเอียดการประชุม เป็นขั้นตอนที่ต้องกรอกรายละเอียดต่างๆ ตั้งแต่วันที่ประชุมจัดตั้งบริษัท, เวลาเปิด – ปิดการประชุม, สถานที่ประชุม, ข้อมูลประธานที่ประชุม, ค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งบริษัท, ข้อมูลผู้สอบบัญชี

ขั้นตอนที่ 4 ข้อมูลการประกอบธุรกิจ[/center]
  • ข้อมูลประกอบธุรกิจ ในหัวข้อแรกจะขึ้นมาว่า รายการอื่นซึ่งเห็นสมควรให้ประชาชนทราบ ให้ตอบว่า 'ไม่มี' และถัดมาคือ แบบบันทึกคำขอ ในส่วนนี้คุณสามารถเลือกจดบริษัทพร้อมจด Vat ได้

ขั้นตอนที่ 5 สรุปข้อมูลทั้งหมด[/center]
ในขั้นตอนนี้ หากใครที่จดทะเบียนบริษัท แนะนำว่าควรปริ้นเอกสารในส่วนนี้เก็บไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐาน เมื่อคำขอตรวจสอบผ่านจากนั้น ให้กด 'ขั้นตอนถัดไป' จากนั้นทางระบบจะมีให้เลือก 3 ช่องทาง คือ
1. ยื่นจดทะเบียนออนไลน์
2. ยื่นแบบต่อหน้านายทะเบียน
3. ยื่นโดยแนบเอกสารเข้าระบบ
ช่องทางที่สะดวกที่สุดคือ ยื่นจดทะเบียนออนไลน์ ซึ่งสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ หลังจากนั้นจะเข้าสู่ขั้นตอน 'ชำระเงิน'
อ่านรายละเอียดวิธีการ จดบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ DBD Biz RegistRegist แบบเจาะลึกคลิก


 
อยากได้ที่ปรึกษา จดทะเบียนบริษัทออนไลน์ แบบส่วนตัว แนะนำที่ นรินทร์ทอง
สำหรับใครที่ทำธุรกิจแล้วอยากได้ที่ปรึกษา ในการ จดทะเบียนบริษัทออนไลน์ แบบส่วนตัว แนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัดสำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339


#7

สิ่งสำคัญที่ต้องรู้ก่อนทำธุรกิจประเภทโรงแรม คือ เรื่องการเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม เนื่องจากโรงแรมถือเป็น อสังหาริมทรัพย์ที่ใช้เพื่อการพาณิชย์ สำหรับผู้ประกอบการท่านใด ที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับโรงแรม ในบทความนี้ นรินทร์ทอง เราได้รวบรวมข้อมูลน่ารู้เกี่ยวกับเรื่องภาษีที่ดินโรงแรม รวมทั้งแชร์วิธีการคำนวณ เพื่อแบ่งปันข้อมูลให้ทุกท่านได้นำไปใช้ในธุรกิจ
เรียนรู้เรื่อง ภาษีที่ดินโรงแรม ก่อนทำธุรกิจ อ่านบทความเต็มได้ที่นี่


ภาษีที่ดินโรงแรม คือ

"ภาษีที่ดินโรงแรม" หมายถึง ภาษีที่เกี่ยวข้องกับที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่ใช้ประกอบกิจการโรงแรมในประเทศไทย โดยสามารถแยกลักษณะของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
โรงเรือน เช่น โรงแรม รีสอร์ต โรงพยาบาล เป็นต้น
สิ่งปลูกสร้างอื่นๆ หมายถึง สิ่งปลูกสร้างอื่นที่ก่อสร้างติดที่ดินถาวร เช่น สะพาน ท่าเรือ เป็นต้น

ใครต้องเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม และ สิ่งปลูกสร้าง

สำหรับผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คือ ผู้ที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินโรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง เช่น ตึก อาคาร คอนโดมิเนียม หรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประกอบการพาณิชย์ต่างๆ
อ่านเรื่องการเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม เพิ่มเติม อ่านบทความเต็มได้ที่นี่


มีอัตราภาษีอย่างไร

อัตราการเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม นั้นจะอยู่ที่ 0.3-0.7% และเริ่มเสียภาษีเมื่อผู้ประกอบการเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินที่ธุรกิจโรงแรมตั้งอยู่
วิธีการคำนวณ (และ ตัวอย่างการคำนวณ) ภาษีที่ดินโรงแรม

อัตราภาษีที่ดินและสิ่งที่ปลูกสร้าง ไม่ว่าจะเป็นในนามบุคคล หรือ นิติบุคคล จะจัดเก็บที่ร้อยละ 0.3-0.7% ซึ่งสามารถคำนวณจากมูลค่าของฐานภาษี ตามสูตรในรูปข้างต้น
ตัวอย่างวิธีการคำนวณภาษี
ยกตัวอย่างเช่น หากเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างโรงแรมมีมูลค่า ดังนี้
  • ที่ดิน มูลค่า 5,000,000 บาท

  • สิ่งปลูกสร้าง (หักค่าเสื่อมแล้ว) 2,0000,000 บาท

  • รวมมูลค่า 7,000,000 บาท

  • เมื่อเทียบกับตารางจะอยู่ในช่วง 0-50 ล้านบาท
ดังนั้น ภาษีที่ต้องเสียคือ 7,000,000 x 0.3% = 21,000 บาท
ดู วิธีการคำนวณภาษี แบบเต็มๆ เพิ่มเติม อ่านบทความเต็มได้ที่นี่

 
สรุปความสำคัญ การเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม
โดยสรุปจะเห็นว่า การเสียภาษีที่ดินโรงแรม เป็นเรื่องที่จำเป็นต้องทำตามกฎหมายกำหนด เพราะมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจในภาพรวม ทั้งในแง่รายได้รัฐ การใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ หากผู้ประกอบการท่านใด ต้องการให้เราช่วยวางแผนเตรียมพร้อมก่อนทำธุรกิจโรงแรม ช่วยคำนวณภาษีโรงแรม หรือมีคำถามเพิ่มเติมปรึกษาได้ที่ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัดทางเราให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

#8

สำหรับพ่อค้าแม่ค้ามือใหม่ ที่เพิ่งเคยทําบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้าครั้งแรก อาจคิดว่าคงเป็นเรื่องยาก แต่บทความนี้ นรินทร์ทอง จะชวนพ่อค้าแม่ค้ามือใหม่ทุกท่าน ไปทำความรู้จักกับ วิธีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า เพื่อช่วยควบคุมต้นทุนธุรกิจ ทั้งยังช่วยวางแผนภาษีให้ดียิ่งขึ้น
เรียนรู้การทำ บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า เพิ่มเติมคลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่

บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า คือ

1. รายจ่าย
รายจ่าย หมายถึง จำนวนเงินทั้งหมดที่ร้านค้าใช้ไปกับรายจ่ายต่างๆ ได้แก่ ต้นทุนสินค้า ต้นทุนวัตถุดิบ รวมไปถึงค่าใช้จ่ายอื่นๆ
2. รายรับ
รายรับ คือ รายได้และผลประโยชน์ที่ได้รับจากการทำธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็น รายได้ทางตรงที่เกิดจากการขายสินค้า และบริการหรือรายได้ทางอ้อมในรูปแบบต่างๆ
3. ต้นทุน
หลักการทำบัญชีของรายรับรายจ่ายร้านค้า จะแยกต้นทุนออกจากรายการรายจ่าย เพราะต้องแยกให้ชัดเจนว่า ต้นทุนที่ทำให้เกิดรายได้มีอะไรบ้าง
 
บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า สำคัญอย่างไร

1. รู้กำไร-ขาดทุนที่แท้จริงของกิจการ
2. ควบคุมค่าใช้จ่าย
3. วางแผนการเงินได้ดีขึ้น
4. ป้องกันปัญหาหนี้สิน
5. ช่วยจัดการสต๊อกสินค้า
6. ใช้เป็นข้อมูลสำหรับยื่นกู้กับสถาบันการเงิน
7. สะดวกต่อการจัดการภาษีในอนาคต
ทำความเข้าใจความสำคัญของการทำ บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า เพิ่มเติมคลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่ที่นี่

วิธีทำบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า

เราสามารถเริ่มต้นทำบัญชีรายรับรายจ่ายของร้านค้าได้ง่ายๆ โดยใช้ "แบบฟอร์มรายงานเงินสดรับ-จ่าย" ซึ่งเป็นแบบฟอร์มตามรูปแบบที่กำหนดของกรมสรรพากร (เราสามารถใช้แบบฟอร์มนี้ยื่นกับสรรพากรในกรณีที่มีการยื่นแบบเสียภาษีบุคคลธรรมดาได้)
ตัวอย่างแบบฟอร์มบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า ตามแบบฉบับของกรมสรรพากร


  • ชื่อผู้ประกอบการ

  • ชื่อสถานประกอบการ

  • เลขประจำตัวประชาชน

  • วัน/เดือน/ปี โดยต้องเป็นวันที่มีการรับเงิน หรือจ่ายเงินจริงเท่านั้น แต่สามารถลงบัญชีภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันที่มีธุรกรรมรายรับ-รายจ่ายเกิดขึ้น ก็ได้เช่นกัน

  • รายรับที่เกิดจากการดำเนินธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นรายได้จากการจำหน่ายสินค้า, รายรับดอกเบี้ย หรือเงินปันผล

  • รายจ่าย-บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้าตามแบบของกรมสรรพากร กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการแบ่งรายการรายจ่าย ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1.รายจ่ายที่เป็นต้นทุนสินค้า และ 2.รายจ่ายอื่นๆ เช่น ค่าจ้างพนักงาน ค่าเช่าสถานที่ เป็นต้น

  • หมายเหตุ - ใช้สำหรับระบุรายละเอียดเพิ่มเติมว่าธุรกรรมรายรับหรือรายจ่ายที่เกิดขึ้นเป็นแบบจ่ายเงินสด หรือว่าเงินเชื่อ

ข้อควรรู้ของการทำ บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า แต่ละขั้นตอน

  • การจัดทำบัญชีต้องเป็นภาษาไทยเท่านั้น ในกรณีที่เป็นภาษาต่างประเทศจะต้องมีภาษาไทยแปลความหมายกำกับ

  • ต้องลงบันทึกรายการบัญชีภายใน 3 วันทำการ โดยนับแต่วันที่มีธุรกรรมรายได้-รายจ่ายใดๆ เกิดขึ้น

  • นำรายการที่เกิดขึ้น (รายรับ-รายจ่าย) มากรอกในแบบฟอร์ม เราสามารถเลือกกรอกทั้ง 2 รูปแบบ "แบบยอดรวมแต่ละวัน" และ "แบบแยกทีละรายการ"

  • ให้สรุปยอด รายรับ และ รายจ่ายเป็นรายเดือน เพื่อใช้เป็นหลักฐานประกอบการยื่นแบบเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา


วางแผนทำบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ได้ที่ นรินทร์ทอง คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่

 
สรุปข้อดีของการทำ บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า กับ นรินทร์ทอง
เมื่ออ่านมาถึงตรงนี้จะเห็นได้ว่า การทำ บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า มีความสำคัญกับธุรกิจอย่างมาก แต่อาจเป็นเรื่องที่หลายๆ คนเคยมองข้าม เพราะเป็นเรื่องยุ่งยากและใช้เวลา แต่จริงๆ แล้วการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า ถือเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่ง ในการบริหารร้านค้าให้เติบโตได้อย่างมั่นคง หากผู้ประกอบการท่านใด ต้องการให้เราช่วยจัดทำบัญชีและภาษีร้านค้า หรือต้องการคำแนะนำในส่วนอื่นๆ สามารถปรึกษาได้ที่ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ทางเราให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

#9


การขายของออนไลน์ถือเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่นิยมอย่างมาก เพราะสามารถทำได้ทุกที่ ทุกเวลา โดย 2 แพลตฟอร์มซื้อ-ขายยอดฮิตที่ทุกคนต่างรู้จักกันดีในขณะนี้ คือ Shopee และ Lazada แพลตฟอร์มค้าขายออนไลน์ขนาดใหญ่ ที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้หลายกลุ่ม แต่ในขณะเดียวกันนี้ หลายๆ คนอาจเกิดข้อสงสัยว่า แล้วการ ขายของใน Shopee  Lazada เสียภาษีไหม? วันนี้ นรินทร์ทอง จึงอยากชวนทุกคนมาไขข้อสงสัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ พร้อมแชร์รายละเอียดอื่นๆ ที่ผู้ที่ทำธุรกิจขายของออนไลน์ควรรู้!




รายได้ขายของออนไลน์


  • รายได้จากการขายสินค้า – เป็นราคาที่ลูกค้าชำระสำหรับสินค้าที่คุณขาย หมายถึงจำนวนเงินที่ลูกค้าจ่ายจริงในการซื้อสินค้า

  • รายได้จากค่าจัดส่งที่ชำระโดยผู้ซื้อ – ผู้ขายอาจเรียกเก็บค่าจัดส่งสินค้าจากลูกค้า หรือรวมค่าจัดส่งไว้ในราคาสินค้า หรือบางครั้งผู้ขายอาจได้รับส่วนลด หรือค่าคอมมิชชั่นจากบริษัทขนส่ง

  • รายได้จากคอมมิชชั่น – สำหรับผู้ขายที่ขายสินค้าแบบ Drop shipping หรือเป็นตัวแทนขาย จะได้รับส่วนแบ่งรายได้ หรือคอมมิชชั่นจากยอดขาย


ค่าใช้จ่ายขายของออนไลน์


  • ต้นทุนสินค้าที่จ่ายให้กับ Supplier
  • ต้นทุนสินค้า
  • ค่าใช้จ่ายที่จ่ายให้กับ Shopee, Lazada
  • ค่าขนส่ง
  • ค่าธรรมเนียมการชำระเงิน (Payment Fee)
  • ค่าธรรมเนียมการขาย (Commission Fee)
  • ค่าโฆษณา (Affiliate Ads)
  • ค่าเข้าร่วมโปรแกรมต่างๆ
1.Freeship Max
2. Cash Back


ทำความเข้าใจเรื่องรายได้และค่าใช้จ่าย สำหรับร้านขายของออนไลน์เพิ่มเติมคลิก


การเข้าร่วมแคมเปญ พร้อมยกตัวอย่าง


สำหรับแพลตฟอร์ม Shopee ยกตัวอย่างเช่น แคมเปญส่งเสริมการขาย


  • รายได้จากการขายสินค้าจะถือเป็น รายได้จากการประกอบกิจการ

  • การคำนวณ:

1. รายได้รวม
2. หักค่าใช้จ่ายตามจริง
3. กำไรสุทธิ (Net Profit) – กำไรสุทธิ = รายได้รวม – ค่าใช้จ่ายทั้งหมด
4. เสียภาษีนิติบุคคล 15% สำหรับ SME


หมายเหตุ: กิจการที่เป็น SMEs อาจได้รับสิทธิประโยชน์ในการลดอัตราภาษีในช่วงแรก


  • ส่งฟรี ทางร้านจะโดนหัก 5% โดยจะหักเปอร์เซ็นต์จาก ยอดขายรวม (Gross Transaction Value หรือ GTV) ของผู้ขาย ซึ่งรวมทั้งค่าสินค้าและค่าจัดส่งก่อนที่จะมีการใช้ส่วนลดต่างๆ เช่น คูปอง หรือ โปรโมชันที่ให้กับลูกค้า
  • Coin cash back โดนหัก 3-4% จากราคาขายสินค้าสุทธิ ซึ่งค่าธรรมเนียมนี้จะถูกนำไปใช้สำหรับการสนับสนุนโปรแกรม Coin cash back ที่มอบเหรียญ Shopee Coins คืนให้กับลูกค้า เพื่อกระตุ้นยอดขายและเพิ่มการมีส่วนร่วมของลูกค้าบนแพลตฟอร์ม
  • เข้าร่วมทั้ง ส่งฟรี และ Coin cash back จะโดนหัก 6-7% หากร้านค้าที่เข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการขายทั้ง 2 แคมเปญ ร้านค้าจะถูกหักค่าธรรมเนียมที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากยอดขายของสินค้าในแคมเปญนั้นๆ และจะหักค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้น หากร้านค้าเข้าร่วมแคมเปญพิเศษอื่นๆ
ส่วนแพลตฟอร์ม Lazada ยกตัวอย่างเช่น แคมเปญ Lazada Payday มีรายละเอียดดังนี้

  • ค่าธรรมเนียมการชำระเงิน 3.21% เป็นค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นเมื่อผู้ซื้อทำธุรกรรมการชำระเงิน ผ่านช่องทางต่าง ๆ บน Lazada โดยอัตราค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 3.21% (รวม VAT 7%) ของราคาคำสั่งซื้อรวมค่าจัดส่งที่ชำระโดยผู้ซื้อ

  • ค่าธรรมเนียมการขาย (Commission) 3.21 – 5.35% เป็นค่าธรรมเนียมที่ Lazada จะเรียกเก็บจากผู้ขาย เมื่อมีการขายสินค้าผ่านแพลตฟอร์ม

  • โปรแกรมส่งฟรี 6.42% หรือทางร้านค้าออกค่าส่งเอง เป็นโปรโมชันที่จัดขึ้นเพื่อดึงดูดกลุ่มลูกค้า โดยตัวเลข 6.42% นี้คือ ส่วนลดเพิ่มเติมจากราคาสินค้า

  • คูปอง แคมเปญ (Laz Bonus) 5.35% เป็นส่วนลดพิเศษที่ได้รับจาก Lazada  เมื่อซื้อสินค้าตามเงื่อนไขที่กำหนดในแคมเปญ

ภาษีเงินได้ (Income Tax)

ภาษีเงินได้แบ่งเป็น 2 ประเภทตามสถานะของผู้ขาย:

1. บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax – PIT)


รายได้จากการขายสินค้าจะถือเป็น เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 (ตามมาตรา 40(8))
  • การคำนวณ:

1. รายได้รวม
รวมรายได้ทั้งหมดที่ได้รับ เช่น ค่าสินค้า (ที่ลูกค้าจ่าย)
2. หักค่าใช้จ่าย (เลือกได้ 1 วิธี):
  • หักแบบเหมา:  60% ของรายได้
  • หักตามจริง: ค่าใช้จ่ายที่มีเอกสารหลักฐาน
3. คำนวณเงินได้สุทธิ:
เงินได้สุทธิ = รายได้รวม – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน
4. เสียภาษีตามอัตราก้าวหน้า:
  • รายได้สุทธิน้อยกว่า 150,000 บาท: ยกเว้นภาษี

  • 150,001 – 300,000 บาท: 5%

  • 300,001 – 500,000 บาท: 10%

  • 500,001 – 750,000 บาท: 15%

  • 750,001 – 1,000,000 บาท: 20%

  • 1,000,001 – 2,000,000 บาท: 25%

  • 2,000,001 – 5,000,000 บาท: 30%

  • มากกว่า 5,000,000 บาท: 35%


2. นิติบุคคล (Corporate Income Tax – CIT)


  • รายได้จากการขายสินค้าจะถือเป็น รายได้จากการประกอบกิจการ

  • การคำนวณ:

1. รายได้รวม
2. หักค่าใช้จ่ายตามจริง
3. กำไรสุทธิ (Net Profit) – กำไรสุทธิ = รายได้รวม – ค่าใช้จ่ายทั้งหมด
4. เสียภาษีนิติบุคคล 15% สำหรับ SME

หมายเหตุ: กิจการที่เป็น SMEs อาจได้รับสิทธิประโยชน์ในการลดอัตราภาษีในช่วงแรก


ภาษีมูลค่าเพิ่ม


ในส่วนถัดมา คือ เรื่อง "ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat)" ซึ่งเป็นภาษีที่เก็บจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ โดยอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มในปัจจุบันเป็นอัตรา 7% โดยตัวชี้วัดง่ายๆ ที่ทำให้พ่อค้าหรือแม่ค้าออนไลน์อย่างเรา จะรู้ได้ว่าต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่นั้น ต้องเช็กที่ยอดรายได้ หากรายได้ถึง 1.8 ล้านบาทต่อปี แน่นอนว่าเราต้องรีบไปจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มโดยทันที ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ

  • ภาษีขายคือ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ที่เราเรียกเก็บจากลูกค้า ซึ่งต้องคิดรวมอยู่ในราคาขายและค่าขนส่งไว้เรียบร้อยแล้ว

  • ภาษีขายภาษีมูลค่าเพิ่มที่เราถูก Supplier หรือว่า Shopee, Lazada เรียกเก็บไป ในอัตรา 7 % เช่นเดียวกัน สังเกตง่ายๆ จากใบกำกับภาษีที่เราได้รับมา


ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ถัดมาคือ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ซึ่งเป็นภาษีที่ผู้จ่ายมีหน้าที่หักจากเงินที่จ่ายให้แก่ผู้รับ แต่ก็ใช่ว่าทุกรายจ่ายจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเสมอไป เพราะกฎหมายกำหนดประเภทรายจ่ายที่ต้องหัก ณ ที่จ่ายเอาไว้ และอัตราการหัก ณ ที่จ่ายไว้เช่นกัน

เรียนรู้ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย แบบละเอียด เพิ่มเติมคลิก


ขายของใน shopee เสียภาษีไหม นรินทร์ทอง พร้อมให้คำปรึกษาและบริการครบวงจร

หากกล่าวโดยสรุปจากเนื้อหาข้างต้นที่หลายๆ คนสงสัยว่า ขายของใน shopee เสียภาษีไหม? คำตอบคือ "ต้องเสียภาษีเมื่อมีรายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด" นอกจากนี้จะเห็นว่าการขายของบนแพลตฟอร์ม Shopee Lazada นั้น ส่งผลดีต่อร้านค้าในหลายด้าน แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อจำกัดที่เราไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ อย่างเช่น การโดนหักค่าธรรมเนียมต่างๆ ซึ่งทางที่ดีร้านค้าออนไลน์ ควรวางแผนภาษีขายออนไลน์ ให้ดี ยิ่งไปกว่านั้นหากคุณมีผู้เชี่ยวชาญ ที่สามารถให้คำปรึกษาด้านบัญชีและภาษีได้ ก็จะยิ่งช่วยให้ธุรกิจของคุณเติบโตอย่างมั่นคงยิ่งขึ้น และส่งผลดีในหลายๆ ด้าน ซึ่งสำนักงานบัญชีที่แนะนำ คือ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339


#10


การปิดงบการเงิน เป็นเรื่องสำคัญสำหรับเจ้าของกิจการ ไม่ว่าจะเป็นกิจการในรูปแบบบริษัทจำกัด หรือ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ดังนั้น ขั้นตอนการทำบัญชี เพื่อปิดงบการเงินจึง ต้องจัดหาผู้ทำบัญชีและผู้ตรวจสอบบัญชี ที่มีประสบการณ์ด้านบัญชีโดยตรง ดังนั้นหากใครที่เพิ่งเริ่มต้นทำธุรกิจ บทความนี้ นรินทร์ทอง จะชวนทุกคนมาทำความเข้าใจ เกี่ยวกับขั้นตอนการทำบัญชีเพื่อปิดงบการเงิน เพื่อเป็นประโยชน์แก่ธุรกิจในอนาคต





การปิดงบการเงิน คือ


การปิดงบการเงิน คือ รายงานทางบัญชีของธุรกิจ ที่ใช้สำหรับการแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ทางการเงิน อาทิเช่น ฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานของธุรกิจ รวมถึงกระแสเงินสดของกิจการในแต่ละงวดบัญชี

เข้าใจวิธีการปิดงบการเงิน เพิ่มเติม คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่


ขั้นตอนการทำบัญชี เพื่อปิดงบการเงิน


1. การระบุและวิเคราะห์ธุรกรรมทางธุรกิจ
ขั้นตอนการทำบัญชีจะเริ่มต้นด้วย การระบุและวิเคราะห์ธุรกรรม รวมถึงเหตุการณ์ทางธุรกิจ โดยข้อมูลทางธุรกรรมและเหตุการณ์บางส่วนนั้น จะถูกป้อนเข้าสู่ระบบบัญชี

2. การบันทึกบัญชีในสมุดรายวัน
การทำบัญชีในรูปแบบของการจดบันทึกลงในกระดาษ หรือการจดบันทึกแบบออนไลน์ เป็นการลงบันทึกทุกธุรกรรมลงในระบบ ซึ่งการทำธุรกรรมทางธุรกิจนั้น มักจะใช้วิธีบันทึกผ่านระบบบัญชีคู่

3. การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท
สมุดบัญชีสรุปข้อมูลทางธุรกรรม แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางบัญชีที่เกิดขึ้น ซึ่งถือเป็นผลลัพธ์จากธุรกรรมต่างๆ ที่ผ่านมา และแสดงให้เห็นถึงยอดคงเหลือที่มีอยู่

4. งบทดลองก่อนการปรับปรุง
จัดทำขึ้นเพื่อทดสอบว่า ข้อมูลยอดบันทึกบัญชีเดบิตและเครดิตนั้นเท่ากันหรือไม่ ซึ่งจะถูกแยกออกจากบัญชีแยกประเภท และจะถูกนำมารวมในรายงานสรุปฉบับเดียวกัน หลังจากนั้นยอดเดบิตและยอดเครดิตทั้งหมด จะถูกสรุปยอดบัญชี

5. การปรับปรุงรายการทางบัญชี
ถือเป็นการเตรียมการเพื่อนำไปสู่การบันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง ในขั้นตอนนี้จึงเป็นตรวจสอบและเพิ่มเติมยอดต่างๆ ในบัญชีให้เรียบร้อย ก่อนที่จะนำไปสรุปเป็นงบการเงินต่อไป


6. งบทดลองหลังปรับปรุง
งบทดลองหลังปรับปรุง สามารถทำได้หลังจากมีการปรับปรุงรายการต่างๆ และต้องจัดทำก่อนนำไปสรุปงบทางการเงิน จะแสดงให้เห็นว่า ยอดเดบิตและยอดเครดิตตรงกันหรือไม่

7. งบการเงิน
เมื่อนักบัญชีไปทำการปรับข้อมูล และเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ เรียบร้อยแล้ว ก็สามารถนำข้อมูลทางธุรกรรมเหล่านั้นมาสรุปงบการเงินได้ทันที

8. รายการปิดบัญชี
ควรทำเฉพาะบัญชีกำไรขาดทุน หรือบัญชีชั่วคราว ยกตัวอย่างเช่น การปิดบัญชีเพื่อนำไปสู่การทำบัญชีในรอบใหม่ โดยบัญชีกำไรขาดทุนจะรวมถึงรายได้และรายจ่ายด้วย

9. การดำเนินการหลังปิดงบบัญชีทดลอง
งานบัญชีสิ่งสุดท้ายที่จะต้องดำเนินการ คือ การเตรียมการสำหรับปิดบัญชีทดลอง ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบยอดเดบิตและเครดิต โดยบัญชีกำไรขาดทุนจะสามารถปิดงบได้ทันที

10. การกลับรายการทางบัญชี (ทางเลือกสำหรับการทำบัญชีใหม่)
ถือเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับการทำบัญชีใหม่ ซึ่งเป็นวิธีการเตรียมการในช่วงเริ่มต้นของรอบบัญชีใหม่ เพื่อให้การบันทึกบัญชีเป็นไปด้วยความถูกต้องและแม่นยำ



ทำความเข้าใจรายละเอียดการปิดงบการเงินแต่ละขั้นตอนเพิ่มเติม คลิกอ่านที่นี่



เรียนรู้ ขั้นตอนการทำบัญชี เพื่อปิดงบการเงิน ได้ง่ายๆ กับ นรินทร์ทอง

หากธุรกิจของคุณมีนักบัญชีที่ดี สามารถจัดเตรียมเอกสารครบถ้วน และสามารถสรุปงบการเงินทุกไตรมาส หรือทุกเดือนได้อย่างรวดเร็ว ก็จะยิ่งเป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานในธุรกิจยิ่งขึ้น ดังนั้นเราจึงขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น


  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339


#11


การ เพิ่มทุนจดทะเบียน เป็นขั้นตอนสำคัญสำหรับธุรกิจ โดยเฉพาะในกรณีที่ต้องการ เพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท หากคุณกำลังหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็น เอกสารที่ต้องใช้ หรือ ขั้นตอนการดำเนินการ คุณจะต้องไม่พลาดกับบทความนี้กับเรา นรินทร์ทอง !

ชวนผู้ประกอบการทำความเข้าใจ การเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้าน อ่านบทความเพิ่มเติมคลิก



เพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท ต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง


  • แบบคำรับรองการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
  • แบบ บอจ.4: รายการจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติม และ/หรือ มติพิเศษ
  • แบบ บอจ.1: คำขอการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
  • หนังสือบริคณห์สนธิที่แก้ไขแล้ว จำนวน 1 ฉบับ
  • สำเนาหลักฐานการรับชำระค่าหุ้นเพิ่มทุน ที่บริษัทมอบให้ผู้ถือหุ้น
  • สำเนาบัตรประชาชนของกรรมการ ที่ลงชื่อขอจดทะเบียน
  • สำเนาหลักฐานการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อ (กรณีมีผู้รับรองลายมือชื่อ)
  • หลักฐานการอนุญาตให้เพิ่มทุน (ในกรณีที่ประกอบธุรกิจเฉพาะที่ต้องได้รับอนุญาต)
  • คำสั่งศาล (ในกรณีที่บริษัทอยู่ระหว่างการฟื้นฟูกิจการ)



ขั้นตอนการ เพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท


1. การเชิญประชุมผู้ถือหุ้น และ ลงหนังสือพิมพ์
  • ออกหนังสือนัดประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 14 วัน หรือตามที่บริษัทกำหนด

2. จัดประชุมผู้ถือหุ้น
  • จัดประชุมผู้ถือหุ้น ในมติพิเศษเพิ่มทุน และแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิที่มีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทุน
     
3. ยื่นคำขอต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (DBD)
  • โดยต้องจัดทำคำขอจดทะเบียน / ยื่นขอจดทะเบียน ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (DBD)ภายใน 14 วันหลังมีมติ

4. ในกรณีของทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท
  • ห้างหุ้นส่วน และบริษัทจะต้องแสดงหลักฐานการชำระค่าหุ้น ตามที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากำหนด



เพิ่มทุนเกิน 5 ล้าน ต้องชำระเต็มไหม?


กฎหมายกำหนดให้ชำระขั้นต่ำเพียง 25% ของมูลค่าหุ้นใหม่ หากบริษัทมีข้อบังคับ หรือข้อตกลงที่กำหนดให้ชำระเต็มจำนวน จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของบริษัท

ตัวอย่างที่ : การชำระขั้นต่ำ 25% ตามกฎหมาย

สถานการณ์:
  • บริษัท A มีทุนจดทะเบียนเดิม 1 ล้านบาท (100,000 หุ้น หุ้นละ 10 บาท)
  • ต้องการเพิ่มทุนอีก 5 ล้านบาท โดยออกหุ้นใหม่ 500,000 หุ้น หุ้นละ 10 บาท

การชำระเงิน:
  • ตามกฎหมาย กำหนดให้ชำระขั้นต่ำ 25% ของมูลค่าหุ้นใหม่

คำนวณ:
  • 25% ของ 10 บาท = 2.50 บาทต่อหุ้น
  • 500,000 หุ้น × 2.50 บาท = 1,250,000 บาท
ส่วนที่เหลืออีก 3,750,000 บาท จะชำระในภายหลังตามที่บริษัทกำหนด

ทุนจดทะเบียนใหม่หลังเพิ่มทุน:

รวมทุนจดทะเบียนใหม่ = 1,000,000 บาท (เดิม) + 5,000,000 บาท (เพิ่ม) = 6,000,000 บาท



วิธีการแสดงหลักฐานการชำระหุ้นแก่เจ้าหน้าที่ ในกรณีเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท


กรณีชำระส่วนลงหุ้น หรือ ชำระด้วยเงิน

1. เอกสารหลักฐานที่ธนาคารออกให้

2. หนังสือยืนยันจากหุ้นส่วนผู้จัดการหรือกรรมการผู้ขอจดทะเบียน


กรณีชำระส่วนลงหุ้นหรือค่าหุ้นด้วยสินทรัพย์

1. ทรัพย์สินมีทะเบียน ให้จัดส่งหนังสือยืนยันการรับชำระส่วนลงหุ้น หรือ ค่าหุ้นของห้างหุ่นส่วนหรือบริษัทจำกัด พร้อมสำเนาเอกสารแสดงว่าห้างหุ้นส่วน

2. ทรัพย์สินไม่มีทะเบียน ให้จัดส่งหนังสือยืนยันการรับชำระส่วนลงหุ้นหรือค่าหุ้นของห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทจำกัด พร้อมสำเนาบัญชีแสดงรายละเอียดทรัพย์สินนั้น


กรณีชำระส่วนลงหุ้นหรือค่าหุ้นด้วยแรงงาน

1. ให้จัดส่งหนังสือยืนยันการชำระส่วนลงหุ้นหรือค่าหุ้นด้วยแรงงานของห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทจำกัด พร้อมเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับแรงงานที่นำมาลงทุน


เรียนรู้การเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้าน อ่านบทความเพิ่มเติมคลิก



โเพิ่มทุนเกิน 5 ล้านมีค่าธรรมเนียมเท่าไร?



  • การจดทะเบียนเพิ่มทุนบริษัทจำกัด:
    ค่าธรรมเนียม: 500 บาท

  • ขอหนังสือรับรอง:
    ค่าธรรมเนียม: 40 บาทต่อรายการ
    จำนวนรายการที่ต้องการอาจขึ้นอยู่กับข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น ชื่อบริษัท ที่อยู่ และข้อมูลทุนจดทะเบียน

  • การรับรองสำเนาเอกสารคำขอจดทะเบียน:
    ค่าธรรมเนียม: 50 บาทต่อหน้า
    จำนวนหน้าที่ต้องรับรองขึ้นอยู่กับความยาวของเอกสาร เช่น แบบคำขอจดทะเบียน หรือรายงานการประชุม


อ่านการเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท แบบละเอียด ทำความเข้าใจไปกับนรินทร์ทอง


สรุปเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท

การเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาทเป็นกระบวนการที่ต้องเตรียมเอกสาร และดำเนินการตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนด บริษัทที่ต้องการเพิ่มทุนจดทะเบียนควรวางแผนการเงินให้รอบคอบ และปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายหรือบัญชีเพื่อความถูกต้อง นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

#12


ปัจจุบันมีคนจำนวนมากหันมาขายของออนไลน์เพื่อสร้างรายได้ แต่ก็มีคนจำนวนไม่น้อย ไม่รู้เรื่องบัญชีและภาษี เกิดเป็นคำถามที่ว่า "ขายออนไลน์ต้องจ่ายภาษีไหม?" "หากไม่เคยส่งภาษี ขายของออนไลน์ โดนภาษีย้อนหลัง ต้องทำอย่างไร?" เรียนรู้ไปกับเรานริทร์ทองได้ในบทความนี้


ทำความเข้าใจเรื่องการ ยื่นภาษี ไปกับนรินทร์ทอง คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่



ขายออนไลน์ต้องจ่ายภาษีไหม?


ในกรณีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา: จะต้องยื่นภาษี เมื่อมีรายได้มากกว่า 10,000 บาทต่อเดือน หรือ 120,000 บาทต่อปี ถึงแม้จะไม่มีภาษีที่ต้องชำระก็ตาม


สรรพากรสามารถตรวจได้อย่างไรว่าเรากำลังขายออนไลน์


ทางสรรพากรสามารถตรวจสอบข้อมูลได้จาก กฏหมายภาษีอีเพย์เมนต์ (e-Payment) กฎหมายอิเล็กทรอนิกส์แพลตฟอร์ม ที่ให้ทุกสถาบันการเงิน แพลตฟอร์มขายสินค้า มีหน้าที่ต้องส่งข้อมูลให้กรมสรรมพากร


ภาษีย้อนหลัง คืออะไร


ภาษีย้อนหลัง หมายถึง การเก็บภาษีจากรายได้ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ผ่านมา หากทางเจ้าหน้าที่ตรวจพบว่าได้มีการละเลยในการชำระภาษี ก็ทำให้ถูกตรวจสอบย้อนหลัง
หลีกเลี่ยงการโดนภาษีย้อนหลัง อ่านบทความเต็มๆ คลิก

หลีกเลี่ยงการโดนภาษีย้อนหลัง อ่านบทความเต็มๆ คลิก



โดนภาษีย้อนหลังถูกปรับอย่างไร


ในกรณีเกินกำหนดเวลายื่นแบบ
  • ต้องระวางโทษค่าปรับไม่เกิน 2,000 บาท ตามมาตรา 35 แห่งประมวลรัษฎากร
  • เสียเบี้ยปรับเงินเพิ่ม 1-2 เท่าตามภาษีที่ต้องชำระ
  • เสียเงินเพิ่ม 1.5% ของภาษีที่ต้องจ่าย โดยเริ่มตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดให้ยื่นแบบ ไปจนถึงวันที่ชำระครบ
ในกรณียื่นแบบทันกำหนด แต่ชำระภาษีไม่ครบถ้วน
  • เสียเบี้ยปรับเงินเพิ่ม 0.5 – 1 เท่าตามภาษีที่ต้องชำระ
  • เสียเงินเพิ่ม 1.5% ของภาษีที่ต้องจ่าย โดยเริ่มตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดให้ยื่นแบบ ไปจนถึงวันที่ชำระครบ
ในกรณีเจตนาละเลยไม่ยื่นแบบภาษีภายในกำหนดเพื่อเลี่ยงภาษี มีค่าปรับดังนี้
  • มีโทษปรับทางอาญาสูงสุดไม่เกิน 5,000 บาท หรือจำคุกสูงสุด 6 เดือน
  • จ่ายเงินค่าปรับ 2 เท่า ของค่าภาษีที่จะต้องจ่าย
  • จ่ายเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย โดยนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดที่ให้ยื่นแบบภาษี ไปจนถึงวันที่จ่ายภาษีครบ
ในกรณีจงใจหลีกเลี่ยงการจ่ายภาษี
  • มีโทษปรับทางอาญาเริ่มตั้งแต่ 2,000 บาท หรือสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท หรือจำคุกตั้งแต่ 3 เดือน หรือสูงสุด 7 ปี
  • จ่ายเงินค่าปรับ 2 เท่า ของค่าภาษีที่จะต้องจ่าย
  • จ่ายเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย โดยนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดที่ให้ยื่นแบบภาษี ไปจนถึงวันที่จ่ายภาษีครบ


ในกรณีเจตนาละเลยไม่ยื่นแบบภาษีภายในกำหนดเพื่อเลี่ยงภาษี มีค่าปรับดังนี้
  • มีโทษปรับทางอาญาสูงสุดไม่เกิน 5,000 บาท หรือจำคุกสูงสุด 6 เดือน
  • จ่ายเงินค่าปรับ 2 เท่า ของค่าภาษีที่จะต้องจ่าย
  • จ่ายเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย โดยนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดที่ให้ยื่นแบบภาษี ไปจนถึงวันที่จ่ายภาษีครบ
ในกรณีจงใจหลีกเลี่ยงการจ่ายภาษี
  • มีโทษปรับทางอาญาเริ่มตั้งแต่ 2,000 บาท หรือสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท หรือจำคุกตั้งแต่ 3 เดือน หรือสูงสุด 7 ปี
  • จ่ายเงินค่าปรับ 2 เท่า ของค่าภาษีที่จะต้องจ่าย
  • จ่ายเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย โดยนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดที่ให้ยื่นแบบภาษี ไปจนถึงวันที่จ่ายภาษีครบ

ขายของออนไลน์โดนภาษีย้อนหลัง ควรทำอย่างไร


1. ตรวจสอบเอกสาร: เอกสารรายได้ และ เอกสารที่เกี่ยวข้อง จากปีที่โดนภาษีย้อนหลัง

2. เช็กรายการภาษีที่เกี่ยวข้อง.
  • ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT)
  • ภาษีเงินได้นิติบุคคล
  • ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

3. ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีและภาษี: เพื่อให้คุณสามารถจัดการปัญหาได้อย่างถูกต้อง
4. เจรจากับกรมสรรพากร: ในกรณีที่มีเงินสดไม่เพียงพอ สามารถเจรจาขอผ่อนชำระเป็นงวดๆ ได้ 
5. ปรับปรุงการทำบัญชี: หลังจากแก้ไขปัญหาแล้ว ควรจัดการระบบบัญชีให้ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาในอนาคต


เรียนรู้วิธีรับมือ ขายของออนไลน์ โดนภาษีย้อนหลัง แบบละเอียด คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่


ป้องกันปัญหาโดนยื่นภาษีย้อนหลัง แนะนำให้ปรึกษาสำนักงานยื่นบัญชีและภาษีที่มีความเชี่ยวชาญ มีบริการครบวงจร ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น


  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#13

นรินทร์ทองให้บริการรับจดทะเบียนนิติบุคคลทุกรูปแบบ ห้างหุ้นส่วน (หจก) บริษัทจำกัด (บจก) ถูกต้องรวดเร็ว ภายใน 1 วัน

มีประสบการณ์มากกว่า 100 เคส พร้อมสิทธิพิเศษ ปรึกษาวางแผนการทำบัญชี และ ส่วนลดเมื่อทำบัญชีกับเรา

เริ่มต้นธุรกิจอย่างมั่นคงกับเรานรินทร์ทอง

เริ่มต้น 5,000 บาท (Walk In)
*ไม่รวมค่าธรรมเนียมการจัดตั้ง*

Tel: 081-627-6872
LINE: @Narinthong


จดทะเบียนบริษัท กับเราเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดสำหรับธุรกิจของคุณ

1. บริการครบวงจร

เราให้คำปรึกษาทุกขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มจดทะเบียนนิติบุคคล พร้อมคำแนะนำในการเริ่มต้นธุรกิจ และการวางโครงสร้างธุรกิจอย่างถูกต้อง เพื่อให้คุณดำเนินกิจการได้อย่างมั่นคงในระยะยาว


2. รวดเร็ว

ด้วยประสบการณ์กว่า 10 ปี เรามั่นใจในความเร็วและประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาเพียง
ไม่เกิน 1 วันในการจดทะเบียนหลังจากตรวจสอบเอกสารครบถ้วน

3. ค่าบริการสมเหตุสมผล

ราคาเป็นมิตรกับธุรกิจ พร้อมบริการจดทะเบียนโดยการ Walk-in ที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
เพื่อความสะดวกและรวดเร็ว


Pain Point ปัญหาของคุณ

การเลือกรูปแบบธุรกิจที่เหมาะสม

เราให้คำปรึกษาตั้งแต่รูปแบบของธุรกิจ ให้คุณได้รูปแบบที่เหมาะสมกับกิจการ สร้างแนวทางดำเนินธุรกิจให้ถูกต้องตามกฎหมาย พร้อมให้คำปรึกษาประหยัดภาษีอย่างถูกวิธี


เพิ่งจดทะเบียนบริษัทไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไร
การวางแผนธุรกิจที่ครอบคลุม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดทำบัญชี การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือการยื่นแบบภาษีต่างๆ การมีที่ปรึกษาที่เชี่ยวชาญจะช่วยให้คุณเริ่มต้นธุรกิจได้อย่างมั่นคง

 
ขั้นตอนในการดำเนินการยุ่งยาก
การจดทะเบียนบริษัทอาจมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และต้องใช้เอกสารหลายประเภท ทำให้ผู้ประกอบการที่ไม่มีประสบการณ์ เกิดความสับสนเกี่ยวกับเอกสาร แต่ที่ นรินทร์ทอง เรามีผู้เชี่ยวชาญที่ช่วยให้คำปรึกษา ดำเนินการให้อย่างมืออาชีพ


ขั้นตอนจดทะเบียนบริษัท (Walk in)

การให้บริการ จดทะเบียนบริษัท กับ Narinthong มีขั้นตอนที่ง่ายและสะดวก ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 จองชื่อนิติบุคล
ทางสำนักงานบัญชีจะทำการจองชื่อนิติบุคคล ที่ต้องการใช้ในการจดทะเบียน อย่างน้อย 3 ชื่อ (ทั้งภาษาไทย-อังกฤษ)

ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมเอกสาร
ทางสำนักงานบัญชีจะขอสำเนาบัตรประชาชนของผู้ถือหุ้น และกรรมการผู้มีอำนาจ ไม่น้อยกว่า 2 คนขึ้นไป รวมถึงรายละเอียด และสำเนาของผู้ขอจดทะเบียน

ขั้นตอนที่ 3 จัดทำเอกสาร
สำนักงานบัญชีจะจัดเตรียมเอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับการจดทะเบียนให้ลูกค้าทำการตรวจสอบ และ รับรองข้อมูล

ขั้นตอนที่ 4 กำหนดผู้มีอำนาจ
ทางบริษัทจะจัดทำหนังสือ บริคณห์สนธิ เพื่อกำหนดกรรมการผู้มีอำนาจ ในบริษัท  และทำการประชุมจัดตั้ง

ขั้นตอนที่ 5 พร้อมยื่นแบบ
ทางบริษัทจะทำการเดินทางเพื่อนำส่งเอกสารจัดตั้งบริษัท กับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


ทางสำนักงานบัญชีรวบรวมเอกสาร สำหรับดำเนินการจดทะเบียนบริษัทสำหรับฝั่งลูกค้า

  • สำเนาบัตรประจำตัว / หนังสือเดินทาง (Passport) ของผู้เริ่มก่อการทุกคน
  • สำเนาบัตรประจำตัวของกรรมการทุกคน
  • สำเนาหลักฐานเป็นผู้รับรองลายมือชื่อ
  • สำเนาทะเบียนบ้าน / เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์คอนโด / เอกสารสัญญาเช่าที่ตั้งใหม่ ของสำนักงานใหญ่ และสาขา "พร้อมแผนที่และสถานที่สำคัญใกล้เคียง"
  • หนังสือรับรองเงินลงทุน ผู้ถือสัญชาติไทย (กรณีมีบุคคลต่างชาติเป็นผู้ถือหุ้น)
  • สำเนาหลักฐานการชำระค่าหุ้นที่บริษัทออกให้แก่ผู้ถือหุ้น
  • ตรายางบริษัท (ถ้ามี)
  • หลักฐานให้ความเห็นชอบในการจัดตั้งบริษัท เพื่อประกอบธุรกิจจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)


ราคาค่าบริการรับทำบัญชี



จดทะเบียนบริษัทแบบ Walk-in

฿ 5,000 บาท

- ระยะเวลาในการอนุมัติ
หากเอกสาที่ใช้ดำเนินการถูกต้องเรียบร้อยสามารถยื่น จัดการให้เสร็จภายใน 1 วัน

- ในกรณีที่มีข้อผิดพลาดสามารถแก้ไขได้ทันที
ในกรณีที่มีข้อผิดพลาด  สามารถแก้ไขได้ภายในวัน ทำให้การจดทะเบียนแบบ Walk In สามารถลดความล่าช้า ในการดำเนินการ

ข้อจำกัด คือ

- มีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
การดำเนินการแต่ละครั้งจะเกิดค่าใช้จ่าย หากดำเนินการผิดพลาดก็จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

- ต้องเดินทางตามเวลาเปิด-ปิด
ต้องยื่นเอกสารในเวลาทำการของสำนักงาน ทำให้ไม่สะดวกเท่าในกรณีของการยื่นออนไลน์


จดบริษัทแบบออนไลน์

฿ 3,500

  • ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
    ไม่ต้องเดินทางไปสำนักงาน สามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา
  • ตรวจสอบสถานะผ่านระบบออนไลน์
    สามารถติดตามสถานะของการจดทะเบียนผ่านระบบออนไลน์

ข้อจำกัด คือ

- ระยะเวลาในการอนุมัติ
ระยะเวลาขึ้นอยู่กับนายทะเบียน อาจมากถึง 3-7 วันทำการ หากดำเนินการแล้วเอกสารไม่เรียบร้อย ก็อาจทำให้เพิ่มระยะเวลาในการดำเนินการ

- ปัญหาทางเทคนิค
หากเกิดปัญหาทางเทคนิค เช่น ระบบล่ม อาจทำให้การดำเนินการล่าช้า


บริการออกแบบโลโก้ โดยกราฟฟิกมืออาชีพ

บริการออกแบบโลโก้ของเรา มุ่งเน้นสร้างสรรค์เอกลักษณ์ที่สะท้อนแบรนด์ของคุณอย่างชัดเจน
ด้วยทีมงานมืออาชีพที่เชี่ยวชาญในการใช้สี รูปทรง และสัญลักษณ์ที่เหมาะสม
เราพร้อมส่งมอบโลโก้ที่โดดเด่นและสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Tel: 081-627-6872
LINE: Narinthong


คำถามที่พบบ่อย

ทุกอย่างที่คุณควรรู้เกี่ยวกับการจดทะเบียนบริษัท

Q: ทำไมควรจดบริษัทกับ Narinthong?

A: เรามีทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญในการจดทะเบียนบริษัท พร้อมให้คำปรึกษาคุณทุกขั้นตอน เพื่อให้การจดทะเบียนของคุณเป็นไปอย่างราบรื่นและถูกต้องตามกฎหมาย


Q: บริการจดทะเบียนบริษัทกับ Narinthong ครอบคลุมอะไรบ้าง?

A: เราให้บริการจดทะเบียนบริษัทครบวงจร ตั้งแต่การให้คำปรึกษาเบื้องต้น การติดตามผล และการให้คำปรึกษาหลังการจดทะเบียน


Q: ค่าใช้จ่ายการจดทะเบียนบริษัทกับ Narinthong เป็นอย่างไร?

A: เรามีแพ็คเกจบริการที่หลากหลายและยืดหยุ่นให้เลือกตามความต้องการของธุรกิจคุณ รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถดูได้ที่เว็บไซต์ของเรา


Q: ใช้ระยะเวลากี่วันในการจดทะเบียนที่ Narinthong?

A: หากเอกสารถูกต้องเรียบร้อยสำหรับการจดทะเบียนบริษัท แบบ Walk in สามารถดำเนินการได้ภายใน 1-3 วันทำการ
#14

1. ให้บริการมามากกว่า 20 ปี
2. ผ่านหลักสูตรจาก DBD
3. ให้บริการด้านบัญชี และ ภาษีครบวงจร
4. บริการและใส่ใจลูกค้า

สนใจทำบัญชี กับ นรินทร์ทอง คลิกที่นี่เลย


ขั้นตอนการทำบัญชี รับทำบัญชี กับ Narinthong มีขั้นตอนดังนี้

1. รับเอกสาร ตรวจสอบเอกสาร ติดตามเอกสารที่ได้รับให้ครบถ้วนพร้อม สำหรับการทำบัญชี

2. ให้คำปรึกษาก่อนเริ่มบันทึกบัญชี แนะนำแนวทางการบันทึกบัญชี เพื่อประหยัดภาษี ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
 
3. เริ่มทำบันทึกบัญชี  รายเดือน รายปี จัดทำรายละเอียดเพื่อให้รู้ผลประกอบการ โครงสร้างของธุรกิจ เพื่อดำเนินธุรกิจในระยะยาว พร้อมทั้งทำข้อมูลประกอบการปิดงบการเงิน

4. ตรวจสอบความถูกต้อง  ของเอกสารทางบัญชี รายการที่บันทึกบัญชี และแนะนำการลงค่าใช้จ่ายเพื่อประหยัดภาษี

5. ส่งงบให้ผู้สอบบัญชี ให้ผู้สอบให้ความเห็นต่องบการเงินที่เกิดขึ้น เพื่อให้ได้มาตราฐาน และ มีความน่าเชื่อถือ ผ่านผู้สอบบัญชีมืออาชีพ *ราคาในดำเนินการสอบบัญชีไม่รวมในค่าทำบัญชี*

6. นำส่งงบการเงิน ช่วยผู้ประกอบการส่งงบการเงินแก่สรรพากร ให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาในด้านบัญชี และ ภาษี พร้อมทั้งให้คำปรึกษาในกรณีที่เกิดปัญหา

อ่านรายละเอียด ขั้นตอนการทำบัญชี เพิ่มเติม ได้ที่นี่


ขอบเขตการ รับทำบัญชี ที่เราให้บริการ

บริการทำบัญชีครบวงจร ครอบคลุมทุกด้าน

  • ทางสำนักงานบัญชีให้คำปรึกษาแนะนำ การออกเอกสารที่เกี่ยวข้องกับบัญชีอย่างเป็นระบบ เช่น การออกแบบ ใบแจ้งหนี้ ใบกำกับ ใบเสร็จ รับ เงิน ใบสำคัญรับ-จ่าย เพื่อให้ได้มาตรฐาน

  • รับเอกสารจากทางลูกค้า โดยลูกค้าสามารถทำจัดการจัดส่งผ่านไปรษณีย์ หรือส่งทางขนส่งมาตรฐานให้กับทางสำนักงานบัญชีนรินทร์ทอง หากประสงค์ส่งในรูปแบบออนไลน์สามารถแสกนผ่านข้อมูลผ่านทาง Google Drive หรือ โปรแกรมบัญชีที่รองรับ *ในกรณีที่ต้องการส่งเอกสารมายัง สำนักงานสามารถใช้บริการเรียกรถผ่านแอพพลิเคชั่น ตามค่าใช้จ่ายจะถูกคิดตามระยะทางจริง*

  • โดยทางสำนักงานจะตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร ก่อนการเริ่มทำการบันทึกบัญชี

  • เรามีบริการทำบัญชีครบวงจรที่ครอบคลุมทุกด้าน ของการจัดการบัญชีสำหรับธุรกิจของคุณ

  • จัดทำภาษีเงินเดือน ภงด 1 และ ภาษีหัก ณ ที่ จ่าย ภงด.3 ภงด.53

  • จัดทำแบบประกันสังคม และ ยื่นแบบทางอินเตอร์เน็ต

  • จัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม และ ยื่น ภพ 30 กับสรรพากร

  • จัดทำรายงานภาษีซื้อ-ภาษีขาย ประจำเดือน

  • ทำการปิดบัญชี ส่งงบการเงินประจำปี


จัดทำรายละเอียด ประกอบงบการเงิน

  • รายละเอียดทรัพย์สิน

  • รายละเอียดเจ้าหนี้ ลูกหนี้

  • รายงานสินค้าคงเหลือ (ในกรณีที่ลูกค้าต้องการรายงานสินค้าคงเหลือ จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)


ยื่นเอกสารกรมพัฒนาธุรกิจการค้า(DBD)

  • ยื่นงบการเงิน และ สบช.3

  • ยื่นบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น บอจ.5


ยื่นเอกสารกรมสรรพากร

  • ประมาณการและยื่น ภ.ง.ด.51 (ภาษีกลางปี)

  • จัดทำและยื่น ภ.ง.ด.50 (ภาษีเงินได้นิติบุคคล)



ราคาค่าบริการ รับทำบัญชี และค่าบริการที่เกี่ยวกับบัญชีเพิ่มเติม

เอกสารทางบัญชี 1-50 ชุด
 3,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


เอกสารทางบัญชีชุดที่ 51-100 ชุด
4,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


เอกสารทางบัญชีชุดที่ 151-200 ชุด
5,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


เอกสารทางบัญชีชุดที่ 201-250 ชุด
6,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


หมายเหตุ : ไม่รวมค่าจัดส่งเอกสาร EMS , ค่าใช้ในการเดินทางรับเอกสาร , ค่าธรรมเนียม และ ภาษี

มองหาสำนักงานบัญชีมากประสบการณ์ แนะนำ นรินทร์ทอง คลิกเพื่ออ่านบทความเต็มได้ที่นี่

#15



หากธุรกิจของคุณเริ่มมีรายได้และผลกำไรสูง ควรมีการจดทะเบียนบริษัทเกิดขึ้น แต่ผู้ประกอบการหลายท่านอาจจะยังไม่แน่ใจว่า ต้องมีรายได้เท่าไหร่ ถึงควร จดทะเบียนบริษัท ? วันนี้ นรินทร์ทอง ได้นำข้อมูลเกี่ยวกับการจดทะเบียนบริษัทมาฝากทุกคนในบทความนี้! 
อยากรู้รายละเอียดการ จดทะเบียนบริษัท เพิ่มเติม คลิกที่นี่

เมื่อไรควร จดทะเบียนบริษัท


หากกิจการของคุณเริ่มมีเงินได้สุทธิ (รายได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย) มากกว่า 750,000 บาทขึ้นไป ควรจดทะเบียนบริษัททันที


รายได้ และ อัตราภาษี


การจดทะเบียนบริษัทควรเริ่มทำเมื่อเจ้าของธุรกิจมีเงินได้สุทธิ (รายได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย) 750,000 บาทขึ้นไป ถ้าคุณเป็นบุคคลธรรมดาที่มีรายได้สุทธิมากเท่านี้ จะเสียภาษีถึง 35% แต่ถ้าจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท จะเสียภาษีเงินได้เพียง 20% 

เรียนรู้การคำนวณรายได้ และอัตราภาษีเพิ่มเติม คลิกที่นี่


ตัวอย่างการคำนวณรายได้ และ อัตราภาษี แบบนิติบุคคล กับ แบบบุคคลธรรมดา


การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล

วิธีการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล มีสูตรการคำนวณ คือ (รายได้ – ค่าใช้จ่าย) = กำไรสุทธิ จากนั้นนำกำไรสุทธิที่ได้ มาคิดภาษีตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล (ทั้งนี้ถ้าหากมีได้กำไร 0 - 300,000 จะได้รับการยกเว้นภาษี 15%)

ยกตัวอย่าง: หากรายได้ทั้งปีมีจำนวน 2,225,000 บาท จะมีวิธีการคำนวณภาษี ดังนี้
Step 1: รายได้ขายสินค้า 2,225,000 - รายจ่าย 1,900,000 บาท = กำไรทางบัญชี 325,000 บาท

Step 2: กำไรทางบัญชี 325,000 บาท - รายการปรับปรุงทางภาษี 0 บาท = กำไรทางภาษี 325,000 บาท

Step 3: กำไรทางบัญชี 325,000 บาท - 3 ล้าน = ภาษีที่ต้องชำระ 3,750 บาท

การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จะมีวิธีการคำนวณโดยแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ

แบบที่ 1 (รายได้ - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน) x อัตราภาษี = ภาษีที่ต้องจ่าย หากมีรายได้ประจำช่องทางเดียว อัตราภาษีจะเป็นแบบอัตราขั้นบันได ตั้งแต่ 5 – 35%

แบบที่ 2  (รายได้ทุกประเภท - เงินเดือน) x 0.5% ในกรณีที่มีรายได้ช่องทางอื่น นอกจากรายได้ประจำหรือเงินเดือนตั้งแต่ 120,000 บาทขึ้นไป คิดภาษีแบบเหมา
โดยจะต้องคำนวณภาษีทั้งแบบอัตราขั้นบันได และอัตราเหมา เพื่อนำมาเทียบกันแล้วเลือกยอดภาษีที่ต้องเสีย โดยคิดจากยอดภาษีที่สูงกว่า

หมายเหตุ: หากคำนวณด้วยวิธีคิดแบบเหมาแล้ว มีภาษีที่ต้องเสียทั้งสิ้นไม่เกิน 5,000 บาท จะได้รับการยกเว้นภาษีในวิธีนี้

ยกตัวอย่าง: หากรายได้ทั้งปีมีจำนวน 2,225,000 บาท เลือกหักค่าใช้จ่ายแบบขั้นบันได จะมีวิธีการคำนวณภาษี ดังนี้

Step 1: รายได้ขายสินค้า 2,225,000 - รายจ่าย 1,900,000 บาท - ค่าลดหย่อนภาษี = เงินได้สุทธิ

Step 2: เงินได้สุทธิ x อัตราภาษีขั้นบันได 30% (รายได้ 2M - 5M ขั้นบันได 30%) = ภาษีที่ต้องจ่าย


ค่าใช้จ่าย และความรับผิดชอบที่มากขึ้น หลัง จดทะเบียนบริษัท



  • การเทียบค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในการทำบัญชี
หากต้องการเทียบค่าใช้จ่ายในการทำบัญชี ต้องดูว่าในนามบุคคลธรรมดาคุณเสียภาษีสูงสุดเท่าไหร่ในช่วง 5%-35% จากนั้นนำมาเทียบกับค่าใช้จ่ายในการทำบัญชี

  • การเก็บเอกสาร
1. ใบแจ้งหนี้ / ใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน / หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย (ที่กิจการให้ลูกค้า)
2. ใบแจ้งหนี้ / ใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน / หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย (ที่ได้รับจากคู่ค้า)
3. Bank Statement หรือสมุดบัญชีธนาคาร
4. รายงานสรุปการจ่ายเงินเดือนพนักงาน (กรณีมีพนักงาน)
5. การใช้บริการจ่ายค่าเช่าจากบริษัท / บุคคลอื่น
6. เอกสารสัญญาทุกชนิด
7. รายงานสินค้าคงเหลือ


ถ้าคุณอยากรู้รายละเอียด หลังจดทะเบียนบริษัท เพิ่มเติมคลิกเลย



ข้อดีของการ จดทะเบียนบริษัท รู้ก่อนไม่มีพลาด!

  • จ่ายภาษีน้อยกว่าบุคคลธรรมดา
  • ปีไหนธุรกิจขาดทุนก็ไม่ต้องเสียภาษี
  • มีความน่าเชื่อถือกว่า
  • ขยายธุรกิจได้ง่ายกว่า

หลังจากที่จดทะเบียนบริษัทเป็นนิติบุคคลแล้ว เจ้าของธุรกิจอย่าลืมที่จะให้ความสำคัญกับการทำบัญชีและภาษี โดยพิจารณาเลือกสำนักงานบัญชีที่มีประสบการณ์ เราขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339